รายการชนิดพืช กลุ่มทรัพยากรที่มีการใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจในระดับโลก และไทยต้องแข่งขันกับประเทศอาเซียนอื่น
1. ผลผลิต
ตารางแสดงเนิ้อที่ ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ราคาและมูลค่าผลผลิต ปี 2557-2562 |
ลำดับ |
ปี |
เนื้อที่เพาะปลูก(ไร่) |
ผลผลิต(ตัน) |
1 |
2557 |
0 |
1,942,510 |
2. ราคา
ตารางแสดงราคาเฉลี่ยระหว่างปี 2557-2562 |
ลำดับ |
ปี |
ราคาเฉลี่ยต่อปี (บาท/กก.) |
1 |
2557 |
17,456,700,000 |
3. การส่งออก
ตารางแสดงปริมาณ และมูลค่าส่งออก ระหว่าง ปี 2557-2562 |
ลำดับ |
ปี |
ปริมาณ (กก.) |
มูลค่า(บาท) |
1 |
2557 |
546,359,000 |
17,456,700,000 |
4. รายละเอียดเพิ่มเติมด้านการผลิต
ปี
|
เนื้อที่เพาะปลูก
|
เนื้อที่เก็บเกี่ยว
|
ผลผลิต
|
ผลผลิตต่อไร่ (กก./ไร่)
|
(ไร่)
|
(ไร่)
|
(ตัน)
|
ปลูก
|
เก็บ
|
2550
|
606,177
|
590,306
|
2,185,275
|
3,605
|
3,702
|
2551
|
632,271
|
581,972
|
2,278,162
|
3,603
|
3,915
|
2552
|
611,776
|
566,599
|
1,894,862
|
3,097
|
3,344
|
2553
|
615,543
|
596,042
|
1,966,143
|
3,194
|
3,299
|
2554
|
659,625
|
646,331
|
2,593,207
|
3,931
|
4,012
|
2555
|
624,979
|
619,565
|
2,400,187
|
3,840
|
3,874
|
2556
|
543,933
|
532,947
|
2,067,908
|
3,802
|
3,880
|
2557
|
NA
|
479,072
|
1,748,222
|
NA
|
3,649
|
2558
|
NA
|
476,433
|
1,702,735
|
NA
|
3,574
|
ที่มา :ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
หมายเหตุ :ข้อมูลปี 2558 เป็นตัวเลขประมาณการ
5. รายละเอียดเพิ่มเติมด้านการบริโภค
ปี
|
น้ำ
|
ทำไว้มิให้เสียโดยใช้น้ำตาล
|
บรรจุภาชนะ
ที่อากาศผ่านเข้าออกไม่ได้
|
ไม่บรรจุภาชนะที่อากาศผ่านเข้าออกไม่ได้
|
แช่เย็นจนแข็ง
|
แห้ง
|
รวมนำเข้า
|
2550
|
19.88
|
1.43
|
598.92
|
0.05
|
2,518.75
|
0.39
|
3,139.42
|
2551
|
477.05
|
34.76
|
861.13
|
577.00
|
15.49
|
1.01
|
1,966.43
|
2552
|
491.33
|
20.98
|
881.12
|
48.05
|
130.10
|
0.00
|
1,571.59
|
2553
|
756.18
|
8.50
|
172.90
|
392.46
|
170.68
|
0.00
|
1,500.71
|
2554
|
1,398.25
|
14.64
|
478.39
|
79.21
|
206.08
|
0.30
|
2,176.87
|
2555
|
639.50
|
18.20
|
395.21
|
97.13
|
36.92
|
4.85
|
1,191.82
|
2556
|
1,273.86
|
0.00
|
1,606.81
|
35.73
|
0.40
|
0.80
|
2,917.61
|
2557
|
693.42
|
37.61
|
480.20
|
0.03
|
14.73
|
0.06
|
1,226.04
|
ที่มา :ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
6. รายละเอียดเพิ่มเติมด้านการส่งออก
|
น้ำ
|
สับปะรดทำไว้มิให้เสียโดยใช้น้ำตาล
|
บรรจุภาชนะที่อากาศผ่านเข้าออกไม่ได้
|
ไม่บรรจุภาชนะที่อากาศผ่านเข้าออกไม่ได้
|
แช่เย็นจนแข็ง
|
แห้ง
|
รวมส่งออก
|
2550
|
ปริมาณ
|
135.72
|
25.08
|
522.15
|
45.90
|
6.00
|
0.99
|
735.83
|
มูลค่า
|
4,249.89
|
1,434.57
|
13,263.29
|
1,233.16
|
187.25
|
154.39
|
20,522.55
|
2551
|
ปริมาณ
|
152.79
|
27.34
|
563.06
|
55.47
|
4.51
|
0.42
|
803.59
|
มูลค่า
|
5,497.10
|
1,604.26
|
17,053.01
|
1,687.20
|
83.20
|
65.34
|
25,990.11
|
2552
|
ปริมาณ
|
151.41
|
26.56
|
473.28
|
35.69
|
3.39
|
0.27
|
690.60
|
มูลค่า
|
6,523.64
|
1,518.92
|
13,904.98
|
1,108.16
|
65.52
|
25.19
|
23,146.41
|
2553
|
ปริมาณ
|
139.88
|
27.23
|
484.62
|
34.35
|
3.29
|
0.52
|
689.89
|
มูลค่า
|
6,613.96
|
1,738.89
|
13,643.70
|
1,040.50
|
75.76
|
62.94
|
23,175.74
|
2554
|
ปริมาณ
|
146.77
|
28.12
|
610.70
|
30.49
|
2.86
|
0.46
|
819.39
|
มูลค่า
|
6,824.78
|
1,931.96
|
19,130.70
|
949.62
|
101.08
|
57.66
|
28,995.79
|
2555
|
ปริมาณ
|
143.58
|
29.61
|
574.92
|
11.19
|
4.47
|
0.25
|
764.02
|
มูลค่า
|
5,573.59
|
2,003.83
|
16,531.72
|
340.82
|
114.07
|
40.12
|
24,604.16
|
2556
|
ปริมาณ
|
141.71
|
36.46
|
555.30
|
9.67
|
3.03
|
0.33
|
746.51
|
มูลค่า
|
4,550.75
|
2,538.44
|
15,112.29
|
296.49
|
81.87
|
39.07
|
22,618.92
|
2557
|
ปริมาณ
|
104.56
|
33.19
|
518.57
|
9.59
|
2.45
|
0.37
|
668.73
|
มูลค่า
|
4,264.11
|
2,799.45
|
16,052.47
|
337.75
|
93.34
|
56.50
|
23,603.62
|
ที่มา :ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
8. รายละเอียดเพิ่มเติมด้านราคา
ปี
|
ผลผลิต
(ตัน)
|
ราคา
(บาท/ตัน)
|
มูลค่าผลผลิต
(บาท)
|
2550
|
2,185,275
|
4.41
|
9,637,063
|
2551
|
2,278,162
|
4.25
|
9,682,189
|
2552
|
1,894,862
|
5.00
|
9,474,310
|
2553
|
1,966,143
|
5.51
|
10,833,448
|
2554
|
2,593,207
|
4.92
|
12,758,578
|
2555
|
2,400,187
|
3.30
|
7,920,617
|
2556
|
2,067,908
|
4.53
|
9,367,623
|
2557
|
1,748,222
|
7.15
|
12,499,787
|
2558
|
1,702,735
|
9.52
|
16,206,826
|
ที่มา :ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
10. รายละเอียดเพิ่มเติมด้านความหลากหลายในการนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์
ผลผลิตสับปะรดส่วนหนึ่งใช้ประโยชน์ในการบริโภคเป็นผลไม้สด ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้บริโภคภายในประเทศที่เป็นแหล่งผลิตและประเทศผู้บริโภคที่อยู่ไม่ห่างไกลมากนัก เนื่องจากผลสับปะรดสดเป็นสินค้าที่เน่าเสียง่ายและมีน้ำหนักมาก ผลผลิตบางส่วนสามารถแปรรูปเป็นสับปะรดอบแห้งและสับปะรดแช่แข็ง ผลผลิตส่วนใหญ่จะใช้เป็นวัตถุดิบในโรงงานสับปะรดกระป๋องซึ่งจะแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์สับปะรดกระป๋องชนิดต่างๆ เช่น สับปะรดแว่น สับปะรดชิ้นยาว สับปะรดชิ้นใหญ่ สับปะรดชิ้นลิ่ม สับปะรดลูกเต๋า สับปะรดชิ้นคละ และน้ำสับปะรด
ส่วนของเนื้อผลที่คั้นเอาน้ำออกแล้ว ยังสามารถนำไปกวนทำแยมหรือใช้ในการผลิต crystallized และ glace วัสดุเหลือทิ้งในโรงงานใช้ทำอาหารสัตว์ ทำไวน์ น้ำส้มสายชู แอลกอฮอล์ ผงชูรส และปุ๋ยหมัก สามารถสกัดกรดอินทรีย์ จำพวกกรด citric malic ascorbic และ เอนไซม์ proteases ใช้ในการทำให้เนื้อสัตว์ในการประกอบอาหารอ่อนนุ่ม สามารถสกัดได้จากส่วนของผลและลำต้น นอกจากนี้ในตำรายาไทย ใช้เนื้อผลเป็นยาแก้ไอขับเสมหะ เหง้าใช้เป็นยาขับปัสสาวะ แก้นิ่ว ในลำต้นและผลมีเอนไซม์โปรตีน bromelain ใช้เป็นยาลดการอักเสบและบวมจากการถูกกระแทก บาดแผลหรือการผ่าตัด โดยผลิตเป็นยาเม็ดได้ และในปัจจุบันเส้นใยสับปะรดยังใช้ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ เปลือกสับปะรดยังสามารถนำมาเป็นอาหารของโคหรือทำเป็นน้ำหมักปุ๋ยชีวภาพ หรือผลิตภัณฑ์จากกระดาษใบสับปะรด เป็นต้น
ทั้งนี้ นอกเหนือจากผลิตภัณฑ์แปรรูปที่ใช้บริโภค ยังมีการนำสับปะรดมาผลิตเป็นเครื่องสำอาง เช่น สบู่ และครีมที่ทำจากสับปะรด โดยใช้เปลือกสับปะรดซึ่งมีเอนไซม์ที่ช่วยมีสรรพคุณช่วยในการสร้างเซลล์ผิวใหม่ รวมไปถึงการสกัดสารโพลีฟีนอลซึ่งเป็นส่วนผสมสำคัญในการผลิตเครื่องสำอาง[1] สำหรับในต่างประเทศได้มีการนำสับปะรดมาเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์มาร์คหน้าซึ่งสินค้าดังกล่าวมีขายในไทยเช่นกัน[2]
[1] สำนักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (2556) เข้าถึงได้จาก http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9560000133215
[2] สินค้าแบรนด์ freeman เป็นที่รู้จักของคนไทย และมีวางจำหน่ายที่ร้าน Boots และร้านเครื่องสำอางค์ชั้นนำทั่วไป https://www.freemanbeauty.com/product/enzyme-facial-mask-pineapple
11. รายละเอียดเพิ่มเติมด้านอุปสรรคทางการค้า
สำหรับมาตรการที่มิใช่ภาษี ส่วนใหญ่พบในกรณีของ 1) สหรัฐอเมริกา จีน นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย (สับปะรดสด) 2) ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย (สับปะรดกระป๋อง) และ 3) ออสเตรเลีย (สับปะรดแช่แข็ง) สำหรับออสเตรเลีย สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ระบุว่า ออสเตรเลียมีการใช้มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด (AD) ในสินค้าสับปะรดกระป๋องกับไทย
ตัวอย่างมาตรการที่มิใช่ภาษีอื่นๆ เช่น กรณีสับปะรดสดกับจีน จะต้องขอใบอนุญาตนำเข้าผลไม้สดจาก กระทรวงพาณิชย์ของจีน ซึ่งใบอนุญาตมีเวลา 6 เดือน หรือกรณีสับปะรดกระป๋องกับญี่ปุ่น จะต้องมีคุณภาพตาม Food Sanitation Law และ Product Liability Law และใช้ระบบ HACCP นอกจากนั้น ผู้นำเข้า ผลกระไม้กระป๋องครั้งแรกต้องยื่นรายละเอียดของส่วนประกอบและขั้นตอนการผลิตต่อ Ministry of Health, Labour and Welfare (MHLW) ขณะที่อินโดนีเซียมีการห้ามนำเข้าสินเกษตรหลายชนิดด้วยกัน เช่น ทุเรียน สับปะรด และมะม่วง เป็นต้น